วันเสาร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ป.พ.พ.มาตรา 422

มาตรา 422 ถ้าความเสียหายเกิดแต่การฝ่าฝืนบทบังคับแห่งกฎหมายใดอันมีที่ ประสงค์เพื่อจะปกป้องบุคคลอื่น ๆ ผู้ใดทำการฝ่าฝืนเช่นนั้น ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นเป็น ผู้ผิด 


เด็กชายยาได้ขับรถยนต์ไปรับแฟนสาวพอมาถึงทางโคงมีรถขับมาชนและรถของยาได้พุ้งชนรถของนายแฟนเสียหาย  ใครต้องรับผิด

ป.พ.พ.มาตรา 421



มาตรา 421 การใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้น ท่านว่าเป็นการ อันมิชอบด้วยกฎหมาย


นายโดเจ้าของบ้านแล้วได้สร้างโรงน้ำแข็งไกล้กับบ้านนายให้ ทำให้นายให้นอนไม่หลับมาเป็นเวลา3เดือนเพราะเสียงของเครืองทำน้ำแข็ง ดังนั้นใครต้องรับผิด
          มาดูว่า กฏหมายมาตรา 421 นี้กำหนดมีอะไรบ้าง
1 การมีสิทธิ์ (ที่มีสิทธิ์ในที่ดิน กรรมสิทธิ์ จะทำอะไรก็ได้ เท่าที่กฏหมายให้อำนาจและจำกัดอำนาจ)
2 การกระทำนั้น มันก็ให้เกิดความเสียหาย คือการละเมิดกฏหมาย
3 ความเสียหายนั้น เกิดกับบุคคลอื่น
          ในประเด็นที่จะรู้ได้ยังไงว่า เขาเสียหาย คือ ผิดไปจากปกติ โรงน้ำแข็งสร้างเสียงดัง ปกติไม่มีเสียงดัง และนายให้นอนไม่หลับเพราะ เสียงที่เกิดขึ้น

ป.พ.พ. มาตรา 420

มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย ให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่ง อย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

หลักการ 
1.บุคคลหรือนิติบุคคล
2.กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
3.กระทำโดยไม่มีอำนาจกระทำตามกฎมหาย
4.ต้องให้บุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเสียหาย
5.ความเสียหายมีได้แค่ ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน สิทธิ
6.จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน

ตัวอย่าง

นายสาได้ชื้อรถมาเพือใช่งาน ในขณะกำลังขับรถไปส่งสินค้า ขับรถด้วยความเร็ว 46 กิโลเมตรต่อชั้วโมง
ในเขตชุมชน ไปชนรถนายสีที่กำลังออกจากบ้านนายอา ทำให้นายสีบาดเจ็บเสียค่ารักษา 7000 บาท 

ใครมีสิทธมากกว่ากัน
   เมือ รถชนกับชน ไม่เข้า มาตรา 438 เพราะในความประมาทแล่ไม่ใช้ความระมัดระวัง ในหลักทั่วไป มาตรา 420 ได้กระทำละเมิด ประกอบ กฎหมายให้ผู้ที่ต้องด้วย มาตรา 422 อันว่านั้น นายสาย่อมได้สันนิษฐานว่าเป็นผู้ทำละเมิด ขับรถด้วยความเร็ว 46 กิโลเมตรต่อชั้วโมงในเขตชุมชนเกินกฎหมายกำหนด 

ป.พ.พ.มาตรา 425

มาตรา 425 นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น

หลักการ   1.นายจ้าง คือผู้ที่มีอำนาจสั่งการงานและลูกจ้างตกลงทำตาม ในกิจนั้น  (ไม่ใช้กับหน่วยงานรัฐ)
                 2.ลูกจ้างต้องได้ทำละเมิดผู้อื่นที่ไม่ใช่นายจ้าง 
                 3.ต้องกระทำในการที่จ้างของนายจ้าง เพื่อประโยนช์ของจ้างนาย 
                 4.เมือนั้น นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างอย่างลูกหนี้รวม

นายไก่ขับรถขนของให้นายไข่โดยวันนี้นายไก่ได้ไปส่งของที่หัวหินพอไปจะถึงก็ได้เกิด
อุบัติเหตุทำให้รถนายควายเสียหาย นายไข่จะต้องรับผิดหรือไม่




วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ป.พ.พ.มาตรา 437

ในชีวิตประจำวันเราต้องเดิมทางไปไหนมาไหนก็ต้องใช้รถ แต่ถ้าเจ้ารถตัวดีก่อปัญหาจะทำอยากไรดี

ในกฎหมาย มาตรา 437 บุคคล ใด ครอบครอง หรือ ควบคุมดูแล ยานพาหนะ อย่างใดๆ อันเดินด้วย กำลังเครื่องจักรกลบุคคลนั้นจะต้องรับผิดชอบเพื่อการเสียหายอันเกิดแต่ยานพาหนะนั้นเว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า การเสียหาย นั้น เกิดแต่ เหตุสุดวิสัย หรือ เกิด เพราะ ความผิดของผู้ต้องเสียหาย นั้นเอง
            ความข้อนี้ ให้ใช้บังคับได้ ตลอดถึง บุคคล ผู้ มีไว้ ในครอบครอง ของ ตน ซึ่ง ทรัพย์ อันเป็น ของ อันตรายได้ โดย สภาพหรือโดย ความมุ่งหมาย ที่จะใช้ หรือ โดยอาการกลไกของทรัพย์นั้นด้วย

จะเห็นได้ว่า หลักคือ 1.ต้องมีเจ้าของหรือบุคคลผู้ควบคุม
                                  2.ต้องมียานพาหนะ อย่างใดๆ อันเดินด้วย กำลังเครื่องจักรกล
                                  3.ต้องก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น
แต่มีข้อยกเว้น  
                                  1.ความเสียหายเกิดแต่เหตุสุดวิสัย เช่น เหตุอันจวนตัว รู้แต่ไม่สามารถป้องกันได้
                                  2.ความผิดของผู้ต้องเสียหาย เช่น ผู้เสียจงใจหรือประมาททำให้ตนเสียหาย

ตัวอย่าง

นายไม้ขันรถไปที่ทำงานแต่รถเป็นของรวยระหว่างทางได้ขันไปชนนายชวยที่เดินอยู่ริมทาง นายชวยได้รับบายเจ็บ ใครต้องรับผิดชอบ

 ใครต้องรับผิด ผมเห็นว่า คนขันต้องรับผิดอยู่แล้ว แต่ปัญหาอยู่ที่เจ้าของรถว่าจะต้องรับผิดหรือไม่ ด้วยหลักแล้วมีเพียงหนึ่งคนต้องรับผิดชอบในเมือผู้ควบคุมรถรับผิดแล้วก็ถือว่าเจ้าของก็ไม่ต้องรับผิด

แต่ถ้าเจ้าของได้ใช้ หรือเป็นนายจ้าง หรือ มารดา บิดา หรือผู้ดูแล่คนขัน อาจจะสามารถรวมรับผิดได้...


Section 437.In everyday life the same way we have to come and go as they need a car. But if you do not pose a problem is very good.Provisions of Section 437 any person in possession or control of the vehicle is in any way with power machinery, such person shall be responsible for damage, but that vehicle unless it is proved that the damage is caused by the force majeure or due. fault of the injured itself.
            
Of this Article shall apply to any person in possession of their property as a hazard by the state or intends to use the property or by a mechanism as well.It is seen that one. Must be owner or operator.
                                  
Two. To any vehicle which is a power machine.
                                  
Three. To cause damage to others.But there are exceptions.
                                  
A. The damage caused as a result of force majeure, but imminent. But not prevented.
                                  
Two. The fault of the injured person to intentionally or recklessly make such a loss.SampleDo not tighten the car to work, but as a way to tighten the money to help the people walking along the way. Can you get through it. Who is responsible.

 
I shall not be liable to tighten it. The problem is that the owner is liable or not. With only one main responsibility when it is considered the owner of the vehicle shall not be liable.If you have used. A mother or father or boss, or someone who looks ridiculously funny. May be liable to ...